25 กุมภาพันธ์ 2564
เกษตรกรรม
สถานการณ์ภัยแล้งในปี 2564 (มกราคม–เมษายน 2564) นับว่าไม่รุนแรง และน่าจะมีความรุนแรงน้อยกว่าปี 2563 พิจารณาจากปริมาณน้ำในเขื่อนที่ลดลงเพียงร้อยละ 7.3 (YoY) ซึ่งเป็นการลดลงเฉพาะในภาคตะวันตกเท่านั้น ขณะที่ภาคอื่นๆ ยังมีปริมาณน้ำในเขื่อนมากกว่าปีก่อน ... อ่านต่อ
FileSize KB
8 มกราคม 2564
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ภาพรวมสินค้าเกษตรไทยในปี 2564 น่าจะให้ภาพที่ดีขึ้น โดยคาดว่า รายได้เกษตรกรจะขยายตัวอยู่ในกรอบร้อยละ 1.0-1.5 (YoY) จากแรงผลักด้านผลผลิตที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.0-2.5 (YoY) เนื่องจากปริมาณน้ำฝนที่เอื้ออำนวยต่อการเพาะปลูกจากปรากฏการณ์ลานีญาที่อาจต่อเนื่องไปจนถึงเดือนพฤษภาคม 25... อ่านต่อ
23 ธันวาคม 2563
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย เห็นว่า ปัญหาอ้อยไฟไหม้ที่เกิดขึ้นทุกปีจะลดลงได้ ส่วนหนึ่งอยู่ที่การส่งเสริมให้ใช้เครื่องจักรตัดอ้อยสด ซึ่งนอกจากช่วยลดปัญหาฝุ่นได้ระดับหนึ่ง ยังช่วยให้เกษตรกรมีผลต่างรายได้สุทธิถึงประมาณ 74,550 บาทต่อครัวเรือน เมื่อเทียบกับการตัดอ้อยไฟไหม้ อย่างไรก็ตาม ประเด็นความท้าทายคือราคารถต... อ่านต่อ
17 ธันวาคม 2563
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินผลกระทบในเบื้องต้นต่อมูลค่ารายได้เกษตรกรที่สูญเสียไปของยางพาราและปาล์มน้ำมันจากผลของน้ำท่วมในภาคใต้รวมอยู่ที่ราว 6,600 ล้านบาท ซึ่งกินระยะเวลาตั้งแต่ธันวาคม 2563 และสร้างผลกระทบต่อเนื่องถึงมีนาคม 2564 จนทำให้เกิดความเสียหายของผลผลิตที่เกิดจากต้นพืชตาย และความเสียหายของผลผลิ... อ่านต่อ
16 พฤศจิกายน 2563
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า ราคาน้ำยางสดของไทยน่าจะฟื้นตัวขึ้นได้ในระยะสั้นคือ ในช่วงที่เหลือของปี 2563 ต่อเนื่องถึงในปี 2564 ที่ราว 53-58 บาทต่อกิโลกรัม ด้วยแรงหนุนสำคัญของความต้องการถุงมือยางที่มีรองรับต่อเนื่องโดยเฉพาะถุงมือยางทางการแพทย์ จึงนับเป็นโอกาสที่ดีของยางพาราไทย โดยมีน้ำยางข้นเป็นตัวชูโรง... อ่านต่อ
28 ตุลาคม 2563
จากการที่ไทยมีการบริโภคน้ำและใช้น้ำในปริมาณมากเพื่อผลิตสินค้าโดยเฉพาะในภาคเกษตร ขณะที่ปริมาณน้ำก็มีแนวโน้มลดลงจากสภาพภูมิอากาศของโลกที่เปลี่ยนแปลงมากขึ้น ทำให้ Water Footprint จะเป็นเทรนด์การผลิตสินค้าของโลกเรื่องหนึ่งที่มีความเป็นไปได้สูงในการเข้ามามีบทบาทในภาคเกษตรมากขึ้นในระยะข้างหน้าอย่างหลีกเลี... อ่านต่อ
2 กันยายน 2563
จากภาวะน้ำท่วมในหลายจังหวัดแถบภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยที่กำลังเกิดขึ้นในขณะนี้ น่าจะไม่กระทบต่อผลผลิตข้าวนาปี เนื่องจากเป็นช่วงที่ยังไม่ถึงฤดูกาลเก็บเกี่ยว เมื่อผนวกกับการไหลของน้ำที่ท่วมหลาก ไม่มีการแช่ขังของน้ำที่ยาวนานเกินไป และเป็นลักษณะของการไหลผ่านของน้ำ ทำให้คาดว่า ผลผลิตข้าวนาป... อ่านต่อ
31 สิงหาคม 2563
หุ่นยนต์เก็บเกี่ยวผลไม้ นับเป็นเทคโนโลยีทางการเกษตรสมัยใหม่ที่มีความแม่นยำสูง ตอบโจทย์ปัญหาในขั้นตอนการเก็บเกี่ยวได้เป็นอย่างดี โดยไทยควรนำมาใช้ในกลุ่มผลไม้ที่มีมูลค่าสูงที่เน้นคุณภาพเป็นหลักเป็นอันดับแรกก่อน ตามมาด้วยผลไม้ในกลุ่มลักษณะเหมาเข่ง เพราะส่วนใหญ่นำไปใช้ในอุตสาหกรรมแปรรูป สำหรับในแง่ของปร... อ่านต่อ
24 กรกฎาคม 2563
แป้งปลอดกลูเตน น่าจะสามารถชูเป็น Product Champion ผ่านการแปรรูปผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังจากฐานความรู้สมัยใหม่อย่างเศรษฐกิจชีวภาพที่จะช่วยเพิ่มมูลค่าได้สูง ตอบโจทย์กลุ่มผู้บริโภคที่แพ้กลูเตนและกลุ่มผู้รักสุขภาพ โดยประเมินว่า ในปี 2563-2564 หากไทยสามารถนำมันสำปะหลังสดที่มีอยู่ราว 30 ล้านตัน แบ่งนำมาผลิตแป้... อ่านต่อ
28 พฤษภาคม 2563
ในช่วงครึ่งแรกของปี 2563 สถานการณ์สินค้าเกษตรในภาพรวมจะยังประคองตัวไปได้ในกรอบจำกัด โดยจะเห็นภาพของราคาสินค้าเกษตรที่ขยายตัวได้ราวร้อยละ 3.8 (YoY) และรายได้เกษตรกรที่ขยายตัวได้ในกรอบจำกัดราวร้อยละ 1.4 (YoY) สำหรับในช่วงครึ่งหลังของปี 2563 สถานการณ์สินค้าเกษตรอาจให้ภาพที่แย่ลงเมื่อเทียบกับช่วงครึ่งแร... อ่านต่อ
15 พฤษภาคม 2563
สถานการณ์กุ้งตกต่ำตั้งแต่ต้นปี 2563 สาเหตุหลักมาจากอุปทานส่วนเกิน (ผลผลิตมีมากกว่าความต้องการมาก) จนทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเตรียมเสนออนุมัติมาตรการช่วยเหลือผู้เกี่ยวข้องในห่วงโซ่การผลิตผ่านโครงการรักษาเสถียรภาพราคากุ้ง ปี 2563 ซึ่ง ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า น่าจะช่วยพยุงราคากุ้งให้ขยับขึ้นได้บ้าง... อ่านต่อ
5 พฤษภาคม 2563
สถานการณ์โควิด-19 ที่เกิดขึ้นในปี 2563 จะเป็นปัจจัยระยะสั้นที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างราคายางพาราในระยะยาว โดยเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวของราคายางพาราในรูปแบบใหม่ โดยจะเป็นการเคลื่อนไหวขึ้นลงในกรอบแคบๆ บนฐานของ New Normal ซึ่งเป็นช่วงราคาใหม่ที่ต่ำกว่าเดิม โดยคาดว่า การเ... อ่านต่อ
3 เมษายน 2563
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า สถานการณ์ราคาไข่ไก่สดที่ปรับตัวสูงขึ้นในเดือนมีนาคม 2563 มาจากสาเหตุหลัก 2 ประการ คือ 1) สภาพอากาศร้อนและภัยแล้งที่ส่งผลต่อปริมาณผลผลิตไข่ไก่ลดลง และ 2) ความต้องการไข่ไก่เพื่อการสำรองไว้บริโภค หลังภาครัฐประกาศใช้ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน และ Lockdown รวมถึงน่... อ่านต่อ
1 เมษายน 2563
การส่งออกข้าวไทยในปี 2563 อาจลดลงมาอยู่ที่ราว 6.2-6.6 ล้านตัน หรือลดลงร้อยละ 12.9-18.1 (YoY) นับเป็นตัวเลขต่ำที่สุดในรอบ 7 ปี จากปัจจัยลบที่รุมเร้ารอบด้านปัจจัยเดิมที่ยังมีอยู่ให้เห็นต่อเนื่องจากปีก่อน โดยเฉพาะตลาดข้าวขาว (ข้าวพื้นแข็ง) ที่มีปัญหามากที่สุด ดังนั้น ไทยจึงต้องหาทางออกด้วยการใช้ข้าวขาว... อ่านต่อ
27 มีนาคม 2563
ไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง เป็นสินค้าที่ไทยยังสามารถทำตลาดได้ดีในจีน แม้ว่าสถานการณ์ปิดด่านขนส่งสินค้าสำคัญของจีนเพื่อควบคุมการระบาดของ COVID-19 หลังช่วงตรุษจีนไปจนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ 2563จะทำให้การขนส่งไก่สดแช่เย็นแช่แข็งจากไทยไปจีนชะงักงันและเกิดความล่าช้าบ้าง แต่ยอดส่งออกไปจีนในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2... อ่านต่อ
24 กุมภาพันธ์ 2563
จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด-19 (Coronavirus Disease: COVID-19) ส่งผลให้ทางการจีนประกาศปิดด่านขนส่งสินค้าสำคัญต่อเนื่องจากการหยุดตามปกติในเทศกาลตรุษจีนจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ รวมทั้งเส้นทางการค้าผ่านแดนจากเวียดนามไปจีนก็หยุดดำเนินการชั่วคราวเพื่อเฝ้าระวังการระบาดของโรค ทำให้ผู้นำเข้าผลไม้ต้องยกเล... อ่านต่อ
17 มกราคม 2563
ภัยแล้งในฤดูกาลปี 2563 (ม.ค.-เม.ย.2563) ได้เกิดขึ้นเร็วกว่าปีก่อน และส่อเค้าความรุนแรง ยาวนานมากขึ้น จากปริมาณน้ำในเขื่อนที่ลดลงร้อยละ 33.1 (YoY) ซึ่งเป็นการลดลงในแทบทุกภาคของประเทศ และยังเป็นระดับน้ำที่วิกฤติกว่าปี 2558 ที่เกิดภัยแล้งรุนแรงอีกด้วย สร้างความเสียหายต่อพืชฤดูแล้งสำคัญ คือ ข้าว มันสำปะ... อ่านต่อ